แนวข้อสอบ CFP
นักวางแผนการเงิน CFP และปรึกษาการเงิน AFPT จะต้องผ่านการสอบหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ตามที่สมาคมฯ กำหนด ซึ่งประกอบด้วยข้อสอบจำนวน 4 ฉบับ แต่ละฉบับมีเนื้อหาครอบคลุมแต่ละชุดวิชา ดังต่อไปนี้
ข้อสอบฉบับที่ | จะสมัครสอบได้ต้องผ่านการอบรมชุดวิชาที่ |
1. พื้นฐานการวางแผนการเงิน ภาษี และจรรยาบรรณ | 1. พื้นฐานการวางแผนการเงิน ภาษี และจรรยาบรรณ |
2. การวางแผนการลงทุน | 2. การวางแผนการลงทุน |
3. การวางแผนการประกันภัย และการวางแผนเพื่อวัยเกษียณ | 3. การวางแผนการประกันภัย และ 4. การวางแผนเพื่อวัยเกษียณ |
4. การวางแผนภาษีและมรดก และการจัดทำแผนการเงิน | 5. การวางแผนภาษีและมรดก และ 6. การจัดทำแผนการเงิน |
2. สัดส่วนน้ำหนักข้อสอบ
- ข้อสอบฉบับที่ 1: พื้นฐานการวางแผนการเงิน ภาษี และจรรยาบรรณ (ปรนัย 85 ข้อ)
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน | 6-10 ข้อ |
- เครื่องมือทางการเงินสำหรับการบริหารสภาพคล่องส่วนบุคคล | 6-10 ข้อ |
- มูลค่าเงินตามเวลา | 11-15 ข้อ |
- การรวบรวมข้อมูลทางการเงินส่วนบุคคล | 9-13 ข้อ |
- การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล | 9-13 ข้อ |
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีเงินได้ส่วนบุคคล | 11-15 ข้อ |
- จรรยาบรรณ และคู่มือการปฏิบัติงานสำหรับนักวางแผนการเงิน | 21 ข้อ |
- ข้อสอบฉบับที่ 2: การวางแผนการลงทุน (ปรนัย 85 ข้อ)
- แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการลงทุนและการวางแผนการลงทุน | 4-8 ข้อ |
- แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการลงทุนและการวางแผนการลงทุน | 6-10 ข้อ |
- หลักทรัพย์ลงทุนในตลาดเงินและตลาดตราสารทุน | 6-10 ข้อ |
- หลักทรัพย์ลงทุนในตลาดตราสารหนี้และอนุพันธ์ | 6-10 ข้อ |
- การลงทุนในทางเลือกอื่น | 6-10 ข้อ |
- ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตัดสินใจลงทุน | 6-10 ข้อ |
- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการบริหารกลุ่มหลักทรัพย์ | 6-10 ข้อ |
- การจัดสรรเงินลงทุนในกลุ่มหลักทรัพย์ | 6-10 ข้อ |
- กลยุทธ์การบริหารกลุ่มหลักทรัพย์ | 6-10 ข้อ |
- การวัดผลตอบแทนกลุ่มหลักทรัพย์ | 6-10 ข้อ |
- แนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ทำหน้าที่ติดต่อกับผู้ลงทุน* | 15 ข้อ |
* เนื้อหาวิชา "แนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ทำหน้าที่ติดต่อกับผู้ลงทุน" ผู้สอบจะต้องศึกษาด้วยตนเอง (self study) |
- ข้อสอบฉบับที่ 3: การวางแผนการประกันภัย และการวางแผนเพื่อวัยเกษียณ (ปรนัย 85 ข้อ)
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวางแผนการประกันภัย | 1-15 ข้อ |
- การจัดการความเสี่ยงภัยและการประกันภัย | 7-11 ข้อ |
- การประกันชีวิตและการประกันสุขภาพ | 17-21 ข้อ |
- การประกันวินาศภัย | 8-12 ข้อ |
- การจัดทำแผนประกันภัย | 8-12 ข้อ |
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวางแผนเพื่อวัยเกษียณ | 1-5 ข้อ |
- การประกันสังคม | 3-7 ข้อ |
- กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ | 1-5 ข้อ |
- กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ | 3-7 ข้อ |
- กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) | 3-7 ข้อ |
- การบริหารความเสี่ยงและการลงทุนเพื่อวัยเกษียณ | 1-4 ข้อ |
- กระบวนการวางแผนเพื่อวัยเกษียณ | 7-11 ข้อ |
- การวางแผนเพื่อวัยเกษียณสำหรับผู้ประกอบการ และบทบาทของนักวางแผนการเงินกับการวางแผนเพื่อวัยเกษียณ |
1-4 ข้อ |
- ข้อสอบฉบับที่ 4: การวางแผนภาษีและมรดก และการจัดทำแผนการเงิน
ส่วนที่ 1: การวางแผนภาษีและมรดก (ปรนัย 45 ข้อ)
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวางแผนภาษีและกระบวนการวางแผนภาษี | 1-5 ข้อ |
- โครงสร้างและองค์ประกอบการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา | 1-5 ข้อ |
- กลยุทธ์ในการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา | 12-16 ข้อ |
- - การกระจายหน่วยภาษีและการกระจายเงินได้ | |
- - การลดเงินได้สุทธิ | |
- - การแปลงประเภทเงินได้เพื่อประโยชน์ในการหักค่าใช้จ่าย | |
- - การบริหารเงินได้จากแหล่งเงินได้นอกประเทศ | |
- - การกำหนดเวลาในการรับเงินได้ | |
- - การเลือกรวมหรือไม่รวมเสียภาษีปลายปี | |
- การวางแผนภาษีแยกตามประเภทอาชีพมนุษย์เงินเดือน | 14-18 ข้อ |
- - ผู้ประกอบวิชาชีพอิสระ | |
- - ผู้ประกอบธุรกิจรับเหมาและธุรกิจอื่น | |
- - ผู้มีเงินได้จากการลงทุนใน | |
- - ผู้มีเงินได้จากการใช้หรือเช่าทรัพย์สินหลักทรัพย์ | |
- - ผู้มีเงินได้จากการขายทรัพย์สิน | |
- แนวคิดในการวางแผนทรัพย์สิน และมรดก และการจัดการทรัพย์สินในขณะมีชีวิต |
1-4 ข้อ |
- ความหมายของมรดก | 1-3 ข้อ |
- การตกทอดของทรัพย์มรดกและผู้จัดการมรดก | 1-5 ข้อ |
- พินัยกรรมและกระบวนการวางแผนการจัดการทรัพย์สินและมรดก | 1-5 ข้อ |
ส่วนที่ 2: ข้อสอบแผนการเงิน (100 คะแนน)
- ชุดวิชาที่ 1 พื้นฐานการวางแผนการเงิน จำนวน 8 – 15 คะแนน
- ชุดวิชาที่ 2 การวางแผนการลงทุน จำนวน 15 – 25 คะแนน
- ชุดวิชาที่ 3 การวางแผนประกันภัย จำนวน 15 – 25 คะแนน
- ชุดวิชาที่ 4 การวางแผนเพื่อการเกษียณ จำนวน 15 – 25 คะแนน
- ชุดวิชาที่ 5 การวางแผนภาษี และมรดก จำนวน 15 – 25 คะแนน
- ชุดวิชาที่ 6 การวางแผนการเงินแบบองค์รวม จำนวน 15 – 25 คะแนน
3. รูปแบบคำถามข้อสอบ
- ข้อสอบฉบับที่ 1 - 3 ประกอบด้วยข้อสอบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก แบ่งเป็น
- ปรนัยอิสระ (Individual Question) เป็นลักษณะของคำถามอิสระที่จบในข้อไม่สัมพันธ์กับคำถามข้ออื่นหรือสถานการณ์สมมติ
- ปรนัยแบบชุดคำถาม (Item Set) มีสถานการณ์สมมติสั้นๆ และมีชุดคำถามประมาณ 3-5 ข้อที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ดังกล่าว
- ปรนัยแบบกรณีศึกษา (Case Study) มีสถานการณ์สมมติและมีชุดคำถามจำนวน 5-10 ข้อ ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ดังกล่าว
- ข้อสอบฉบับที่ 4 การวางแผนภาษีและมรดก และการจัดทำแผนการเงิน ประกอบด้วย 2 ส่วน
- ส่วนที่ 1: การวางแผนภาษีและมรดก เป็นข้อสอบปรนัย จำนวน 45 ข้อ แบ่งเป็น
- ปรนัยอิสระ (Individual Question)
- ปรนัยแบบชุดคำถาม (Item Set)
- ส่วนที่ 2: ข้อสอบแผนการเงิน ประกอบด้วย
- การสอบข้อเขียน เป็นการสอบอัตนัย (Comprehensive Exam) แบบเปิดหนังสือสอบ (ไม่อนุญาตให้ใช้คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สื่อสารทุกชนิด) ขอบเขตเนื้อหาข้อสอบครอบคลุมองค์ความรู้หลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ทั้ง 6 ชุดวิชา แบ่งการสอบเป็น 2 ช่วง ช่วงละ 3 ชั่วโมง ช่วงที่ 1 ให้น้ำหนักกับการเก็บรวบรวม และการวิเคราะห์ ช่วงที่ 2 ให้น้ำหนักกับการสังเคราะห์ โดยข้อสอบทั้ง 2 ช่วงเป็นอิสระต่อกัน
- การสอบสัมภาษณ์ ผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ ต้องมีผลสอบการสอบข้อเขียน “ผ่าน” ในวันสอบสัมภาษณ์ ผู้สอบต้องนำข้อมูลประวัติส่วนตัวของผู้สอบเสนอต่อกรรมการสัมภาษณ์ มีกรรมการสอบสัมภาษณ์จำนวน 2 คน สัมภาษณ์ทัศนคติ ความคิดเห็น จรรยาบรรณที่มีต่อการประกอบวิชาชีพนักวางแผนการเงิน และประสบการณ์การทำงานของผู้สอบ ใช้เวลาสัมภาษณ์ประมาณ 20 นาทีต่อราย
- ส่วนที่ 1: การวางแผนภาษีและมรดก เป็นข้อสอบปรนัย จำนวน 45 ข้อ แบ่งเป็น
4. การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงข้อกำหนดและระเบียบต่างๆ
เนื่องจากอาจมีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงข้อมูลด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการเงิน และระเบียบและเกณฑ์ต่างๆ ของสมาคมฯ เป็นครั้งคราว ผู้สมัครสอบจึงควรติดตามข้อมูลดังกล่าวที่เป็นปัจจุบัน เนื่องจากในการสอบหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ผู้สมัครสอบจะต้องสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย ข้อกำหนด และหลักเกณฑ์ที่เป็นปัจจุบันได้ เช่น เกณฑ์การลงทุนในหลักทรัพย์แต่ละประเภท ข้อกำหนดด้านภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนหรือการประกันชีวิต เป็นต้น
ในข้อสอบหลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP จะมีการแสดงข้อมูลตารางมูลค่าเงินตามเวลาเพื่อใช้ในการอ้างอิง
สมาคมฯ ได้เผยแพร่ตัวอย่างข้อสอบฉบับที่ 1 ผ่านทางเว็บไซต์ของสมาคมฯ เพื่อช่วยให้ผู้สมัครสอบสามารถเตรียมความพร้อมก่อนการสอบจริง โดยผู้สมัครสอบสามารถทดสอบความรู้ของตนและทำความคุ้นเคยกับเนื้อหาและรูปแบบของข้อสอบได้จากตัวอย่างข้อสอบ
ดูตัวอย่างข้อสอบ
ค่าธรรมเนียมการสอบ
ข้อสอบ | บุคคลทั่วไป | สมาชิกสมาคมฯ |
ฉบับที่ 1 พื้นฐานการวางแผนการเงิน ภาษี และจรรยาบรรณ | 2,000 | 1,700 |
ฉบับที่ 2 การวางแผนการลงทุน | 3,000 | 2,550 |
ฉบับที่ 3 การวางแผนการประกันภัยและการวางแผนเพื่อวัยเกษียณ | 3,000 | 2,550 |
ฉบับที่ 4 การวางแผนภาษีและมรดก และการจัดทำแผนการเงิน |
2,000 4,500 |
1,700 3,825 |
หมายเหตุ จะสมัครสอบได้ผู้จะสมัครสอบต้องผ่านการอบรม หลักสูตรการวางแผนการเงิน CFP ก่อน รายละเอียด
ข้อสอบฉบับที่ | จะสมัครสอบได้ต้องผ่านการอบรมชุดวิชาที่ |
1. พื้นฐานการวางแผนการเงิน ภาษี และจรรยาบรรณ | 1. พื้นฐานการวางแผนการเงิน ภาษี และจรรยาบรรณ |
2. การวางแผนการลงทุน | 2. การวางแผนการลงทุน |
3. การวางแผนการประกันภัย และการวางแผนเพื่อวัยเกษียณ | 3. การวางแผนการประกันภัย และ 4. การวางแผนเพื่อวัยเกษียณ |
4. การวางแผนภาษีและมรดก และการจัดทำแผนการเงิน | 5. การวางแผนภาษีและมรดก และ 6. การจัดทำแผนการเงิน |
ThaiPFA ศูนย์อบรมต้นแบบ สู่เส้นทางคุณวุฒิวิชาชีพนักวางแผนการเงิน CFP มืออาชีพมาตรฐานสากล
Thai Professional Finance Academy (ThaiPFA)
ติดต่อ
086-666-0090 , 082-701-7077 , 087-063-3306
ขอบคุณทุกความไว้วางใจ ที่มีให้ ThaiPFA
#นักวางแผนการเงินCFPมาตรฐานสากลกับThaiPFA #เส้นทางสู่วิชาชีพนักวางแผนการเงินCFPมาตรฐานสากลโดยThaiPFA #ThaiPFAศูนย์อบรมต้นแบบเพื่อความมั่งคั่งมั่นคงและยั่งยืน
E-mail: thaipfa@gmail.com
Website: www.thaipfa.co.th
Social network: www.facebook.com/thaipfa
LINE: @thaipfa
Mobile: 086-666-0090 , 087-063-3306 ,082-701-7077